MENU
เว็บบอร์ด
ผลบอล
วิเคราะห์บอล
ไฮไลท์ฟุตบอล
ตารางคะแนน
ดูบอลสด
Menu
หน้าแรก
ดูบอลสด
ตารางบอลวันนี้
ตารางบอลพรุ่งนี้
ผลบอลย้อนหลัง
ทายผลบอล
ข่าววันนี้
ข่าวเด่นวันนี้
ข่าวพรีเมียร์ลีค
ข่าวลาลีกา
ข่าวบุนเดสลีกา
ข่าวกัลโซ่ ซีเรียอา
ข่าวลีกเอิง
ข่าวไทยพรีเมียร์ลีก
ข่าวยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
ข่าวยูโรป้า
ข่าวฟุตบอลโลก
ลิ้งดูบอล
คลิปไฮไลท์
ไฮไลท์ฟุตบอลอุ่นเครื่อง
ไฮไลท์พรีเมียร์ลีก
ไฮไลท์ลาลีกา
ไฮไลท์บุนเดสลีกา
ไฮไลท์กัลโซ่ ซีเรียอา
ไฮไลท์ลีกเอิงฝรั่งเศษ
ไฮไลท์ไทยพรีเมียร์ลีก
ไฮไลท์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
ไฮไลท์ยูโรป้า
ผลบอล
ดูทีวีออนไลน์
วิเคราะห์บอล
ตารางคะแนน
พรีเมียร์ลีค
แชมเปี้ยนชิพอังกฤษ
ลาลีกา
บุนเดสลีกา
กัลโซ่ซีเรียอา
ลีกเอิงฝรั่งเศส
ไทยพรีเมียร์ลีก
ไทยดิวิชั่น1
Holland Eredivisie
บุนเดสลีก้า2 เยอรมัน
ลาลีกา2 สเปน
ซูเปอร์ลีกา โปรตุเกส
เว็บบอร์ด
ติดต่อโฆษณา
กรุณากดปุ่ม แชร์ ให้เพื่อนๆได้มาดูด้วย
เครียดลงกระเพาะบ่อย ๆ อันตรายแค่ไหน?
เครียดลงกระเพาะบ่อย ๆ อันตรายแค่ไหน?
ขึ้นชื่อว่าความเครียด
ไม่เคยส่งผลดีกับใครทั้งนั้นเลยค่ะ ยิ่งปล่อยไว้นาน ๆ ทำให้เกิดอาการเครียดลงกระเพาะบ่อย ๆ ก็จะทำให้ร่างกายของเรายิ่งแย่ลง โ
ดยในระยะสั้นที่เห็นได้ชัดคือ อาหารไม่ย่อย เกิดกรดไหลย้อน หรืออาการแสบที่ทรวงอก เรอมีกลิ่นเปรี้ยวหรือเหม็น
อาการเหล่านี้ไม่ดีต่อคุณแน่ในชีวิตประจำวัน และอาจทำให้เสียภาพลักษณ์ในการดำเนินชีวิตได้
บางคนอาจมีความเครียดจนอ้วก คลื่นไส้บางเวลา หรือขับถ่ายเป็นสีดำ
ในระยะยาวถ้าคุณปล่อยให้เกิดโรคเครียดลงกระเพาะ ผลกระทบในระยะสั้นปะทะร่างกายของคุณอยู่บ่อย ๆ
แน่นอนว่าภูมิคุ้มกันของร่างกายจะลดลง การหลั่งฮอร์โมนจะไม่เป็นปกติ สมองของคุณจะสั่งการช้าลง อาจเกิดโรคภัยไข้เจ็บรุนแรงตามมา และสมองของคุณจะสั่งการช้า ทำให้การทำงานหรือการตัดสินใจต้องใช้เวลามากขึ้น และที่สำคัญอาจส่งผลต่อจิตใจภายในอีกด้วย ในกรณีร้ายแรง คุณอาจเสี่ยงเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารได้
เครียดลงกระเพาะ รักษาได้ไหม? แก้อย่างไรดี
หากคุณสำรวจตัวเอง แล้วพบว่าคุณมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเครียดลงกระเพาะ ทางที่ดีคือคุณควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อตรวจวินิจฉัยให้แน่ใจก่อน ว่าอาการที่เกิดขึ้นกับคุณทั้งหมดนั้น คืออาการเครียดลงกระเพาะจริง ๆ ไม่ได้เกิดจากโรคร้ายอย่างอื่น เมื่อแน่ใจว่า คุณมีอาการเครียดลงกระเพาะแล้วแพทย์จะวางแผนการรักษาที่ตรงจุดต่อไปค่ะ
ยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อาจจะรักษาทั้งสองทางไปพร้อมกัน ทางแรก คือรักษาทางด้านร่างกาย ด้วยการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต กินอาหารให้ครบ 3 มื้อตรงเวลา โดยหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและย่อยยาก ปรับสมดุลกระเพาะอาหารให้กลับมาแข็งแรง และให้มีการออกกำลังกายควบคู่ไปด้วย
พร้อมกันนั้นหากคุณไม่สามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เครียดได้ แพทย์อาจพิจารณาให้ทำการรักษากับจิตแพทย์ เพื่อรักษาอาการทางด้านจิตใจไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีควบคู่กันไป แพทย์อาจให้คุณทำกิจกรรมลดความเครียด พร้อมจัดสรรเวลาในการทำงานให้คุณไม่เครียดจนเกินไป จนสภาพร่างกายของคุณกลับมาเป็นปกติสมบูรณ์ เหตุนี้ จึงแนะนำให้เข้ารับการรักษาไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ เพราะอาจเกิดโรคร้ายตามมาได้
ตอบคำถาม
ตั้งคำถามใหม่
โพสต์โดย : ใบเฟิร์น
เมื่อ 18 ก.พ. 2567 14:48:58 น. อ่าน 148 ตอบ 0
Member
Login
ลืมรหัสผ่าน
|
สมัครสมาชิกใหม่
ดูฟุตบอลออนไลน์